Skip to content Skip to footer

ถ้าฉันไม่ใช่ผู้หญิง แล้วฉันควรเป็นอะไร

ถ้าฉันไม่ใช่ผู้หญิง แล้วฉันควรเป็นอะไร ในเมื่อตอนเกิด ฉันถูกกำหนดให้เป็นหญิง และฉันก็ใช้ชีวิตอย่างผู้หญิงตลอดมา ? เธอจึงเป็นผู้หญิง จนกว่าตัวเธอจะนิยามตนเองว่าเป็นอย่างอื่น

กฎหมายใน Pride Month ตอนที่ 1: รู้จัก SOGIESC เพื่อเข้าใจความหลากหลายทางเพศ

“SOGIESC” เป็นเครื่องมือหนึ่งทางสิทธิมนุษยชนที่ใช้เป็นกรอบทางความคิด เพื่อทำความเข้าใจกับองค์ประกอบและความความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศ และเพื่อรับประกันว่าบุคคลไม่ว่าเพศใดจะได้รับการปฏิบัติด้วยความเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

งานเสวนา: หลักนิติธรรมกับการคุ้มครองสิทธิในการจัดตั้งครอบครัว

งานเสวนาหลักนิติธรรมกับการคุ้มครองสิทธิในการจัดตั้งครอบครัวจัดขึ้นโดยคณะกรรมาธิการ การพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส วุฒิสภา ร่วมกับคณะผู้เสนอร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมฉบับประชาชน และศูนย์วิชาการเพื่อสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส.

Recap: วงน้ำชา “อัตลักษณ์ทางเพศ กับการถูกกีดกันในสังคมไทย”

“เด็กรุ่นใหม่อยากจะค้นหาและสนใจในเรื่องเพศที่หลากหลายมากขึ้น แต่หลายๆครั้งในสังคมมีแค่ Cis People อย่างเดียว กลุ่ม Lesbian, Sapphic, Non-binary หรือ Transgender มักจะถูกกีดกันออกไป ทาง Sapphic Union เปิดกว้างและเปิดรับทุกคน ไม่ว่าคุณจะเป็นใคร คุณควรได้รับการโอบรับ แต่กลายเป็นว่าในสังคมวงกว้างกลับไม่มีพื้นที่ให้พวกเค้าเลย” – คุณเฟิร์ส ผู้ร่วมก่อตั้ง Sapphic Union

บุคคลเพศกำกวม (intersex) กับความเข้าใจที่หาได้ไม่ง่ายนักในสังคม (โครงการ LGBT-4P)

คุณนาดา ไชยจิตต์ ผู้เป็น intersex (บุคคลเพศกำกวม) และ transgender (บุคคลข้ามเพศ) แบ่งปันความรู้สึกดี ๆ ในโมเมนต์ที่รู้สึกได้รับการยอมรับในตัวตนทางเพศของตนเป็นครั้งแรกจากคุณแม่ นอกจากนี้คุณนาดายังกล่าวถึงความสำคัญของคุณกร เพื่อนที่เข้าใจในตัวตนทางเพศของเธอและคอยเป็นแรงสนับสนุนทางใจให้คุณนาดาอยู่เสมอ “กรเขาเป็นพื้นที่ปลอดภัย ทุกครั้งที่เรารู้สึกว่าเราไม่รู้จะคุยเรื่องนี้กับใคร เราก็จะรู้สึกว่าเรามีพื้นที่ปลอดภัยเสมอ”